จิตวิทยาการเรียนการสอนและความเป็นครู
ความหมาย
“จิตวิทยา”เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิต
โดยศึกษาว่าสิ่งเหล่านี้ได้อิทธิพลอย่างไรจากสภาวะทางร่างกาย
สภาพจิตใจและสิ่งแวดล้อมภายนอก
ความรู้ที่อยู่ในขอบข่ายการเรียนการสอน
1. ความรู้เรื่องพัฒนาการมนุษย์
2. หลักการของการเรียนรู้และการสอนประกอบด้วย
ทฤษฎีการเรียนรู้และการเรียนรู้ชนิดต่างๆ
3. ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่มีผลต่อการเรียน
4. การนำเอาหลักการและวิธีการเรียนรู้ไปใช้ในการ
แก้ปัญหาการเรียนการสอน
หลักการสำคัญ
1. มีความรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอน
2. มีความสามารถในการประยุกต์หลักการจิตวิทยาเพื่อการเรียนการสอน
3. มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่
4. มีเจตคติที่ดีต่อผู้เรียน
ครู หมายถึง ผู้สอน มาจากภาษาบาลีว่า “ครุ”
ภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” แปลว่า หนัก สูงใหญ่
- ครูต้องรับภารหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบ
- ครูต้องมีความหนักแน่น สุขุม ไม่วู่วาม ทั้งความคิดและการกระทำ
หลักการที่สำคัญสำหรับครู
การสร้างบรรยากาศในห้องเรียน
ไม่รื้อฟื้นปัญหาที่เคยเกิดขึ้น
ให้ความยุติธรรมแก่เด็ก
อย่างเท่าเทียมกัน
ตั้งเป้าหมายที่นักเรียนสามารถทำได้
ครูควรบอกถึงข้อจำกัดของตน
ครูควรทราบข้อจำกัดของเด็กแต่ละคน
ครูควรใส่ใจเด็กทุกคน
จิตวิทยาการเรียนรู้
1.สติปัญญาของผู้รับรู้
ถ้าสติปัญญาดีจะเรียนรู้ได้เร็ว
2. ความตั้งใจในกิจกรรมที่ผู้รับรู้สัมผัส
3. ความสนใจ การมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งนั้น
4. สภาพจิตใจของผู้รับรู้ในขณะนั้น
2. ความตั้งใจในกิจกรรมที่ผู้รับรู้สัมผัส
3. ความสนใจ การมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งนั้น
4. สภาพจิตใจของผู้รับรู้ในขณะนั้น
ลำดับขั้นของการเรียนรู้
ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะประกอบด้วยลำดับขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญ 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ (1) ประสบการณ์ (2) ความเข้าใจ และ (3) ความนึกคิด
ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะประกอบด้วยลำดับขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญ 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ (1) ประสบการณ์ (2) ความเข้าใจ และ (3) ความนึกคิด
ความรู้ที่อยู่ในขอบข่ายการเรียนการสอน
1. ความรู้เรื่องพัฒนาการมนุษย์
2. หลักการของการเรียนรู้และการสอนประกอบด้วย
ทฤษฎีการเรียนรู้และการเรียนรู้ชนิดต่างๆ
3. ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่มีผลต่อการเรียน
4. การนำเอาหลักการและวิธีการเรียนรู้ไปใช้ในการ
แก้ปัญหาการเรียนการสอน
จิตวิทยาการศึกษา
โดยทั่วไปแล้ว
เนื้อหาของจิตวิทยาการศึกษาที่เป็นความรู้พื้นฐานสำหรับครูและนักการศึกษาประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
๑. ความสำคัญของวัตถุประสงค์ของการศึกษาและบทเรียน
๒. ทฤษฎีพัฒนาการ และทฤษฎีบุคลิกภาพ
๓. ความแตกต่างระหว่างบุคคลและกลุ่ม
๔. ทฤษฎีการเรียนรู้
๕. ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖. หลักการสอนและวิธีสอน
๗. หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
๘. การสร้างบรรยากาศของห้องเรียน
ความสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครู
วิชาจิตวิทยาการศึกษาสามารถช่วยครูได้ในเรื่องต่อไปนี้
๑. ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัย (Characteristics) ของนักเรียนที่ครูต้องสอน
๒. ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการทางบุคลิกภาพบางประการของนักเรียน
๓. ช่วยครูให้มีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล
๔. ช่วยให้ครูรู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เหมาะสมแก่วัย
๕. ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่าง ๆ
๖. ช่วยครูในการเตรียมการสอนวางแผนการเรียน
๗. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้
๘. ช่วยครูให้ทราบถึงหลักการสอนและวิธีกานที่มีประสิทธิภาพ
๙. ช่วยครูให้ทราบว่านักเรียนที่มีผลการเรียนดี
ไม่ได้เป็นเพราะระดับเชาวน์ปัญญาอย่างเดียว
๑๐. ช่วยครูในการปกครองชั้นและการสร้างบรรยากาศของห้องเรียน